มาพันเอาท์พุทใช้เองกันเถอะ มีหลายสูตรมาให้เลือกตามกำลังวัตต์และชนิดหลอด เป็นแบบ OPT SE

สูตรพัน OPT

ต้องลองเอาไปใช้ดู
สูตรแรก
F=2Sqr(N) (ขนาดของ Bobblin ที่ต้องใช้)
Na=70/F (รอบ/โวลท์) 70=lowest frequency
Up=Sqr(N*Ra) (รอบ/โวลท์ด้าน Pri)
P=Sqr(Ra/R) (อัตราส่วนต่อรอบ (Pri/Sec)) *R=Output Load 4,8,16 ohm.
Np=Up*Na (จำนวนรอบด้าน Pri)
Ns=Np/P (จำนวนรอบด้าน Sec)
ตัวอย่าง หลอด 6BQ5 N=6w. Ra=5.2k(5200) Ia=48mA.
F=2*Sqr6 = 4.89cm2
Na=70/4.89 = 14.31 turn/v.
Up=Sqr(6*5200)=176.6 turn
P= Sqr(5200/4ohm)=36.0 v./turn ,8ohm=25.4 turn 16ohm=18.0 turn
Np=176*14.31=2516.8 Pri,turn #32
Ns=2516.8/36.0=69.9 Sec,turn for 4 ohm,99.0 turn for 8ohm 139.8 turn for 16 ohm #23
วิธีพัน
1.พันขด primary ลวดเบอร์ 32
2.พันขด secondary ลวดเบอร์ 23
3.บ๊อบบิ้นขนาด 96×40


อีกสูตรนึงเป็นการคำนวนโดยใช้อัตราส่วน (Ratio)

Ratio =V/(Sqr(Z/R)), Z=โหลดอินพุทของ OPT ,R= โหลดเอาท์พุท, V=แรงดันอินพุท (220 Vac.)
ตัวอย่าง

Z= 5000 (5K) ,R=8 ohm
จาก Ratio =V/(Sqr(Z/R))
หา Sqr(5000/8)=25
v=220v
Ratio=V/(Sqr(Z/R)
แทนค่าในสูตร
Ratio=220/25 =8.8v.(9v.)

อีกสูตร

E=Sqr(P*Z)                            (1)
P:Power output, Z:Impedance
N=(E*10^8)/(4.44*A*Bm*F                 (2)

N1=Pri turn, N2=Sec turn, A=ขนาดของแกน,
Bm=ค่าอิ่มตัวของแกนเหล็ก(อย่างดี 8500) (ทั่วไป 8000),
F=Frequency(50hz)
การวัดขนาดของแกน EI
a1*a2=A
A=Sqr(W)/5.58
W คือกำลังวัตต์ที่ต้องการ
F คือค่าความถี่ของแหล่งจ่ายไฟ ในที่นี้คือ 50hz
เมื่อหาค่า N1 ได้แล้วก็มาหาค่า N2(รอบทางด้าน sec)

N2=N1*Sqr(Zs/Zp)
Zs คือ Impedance ทางด้าน Secondary มีหน่วยเป็น Ohm
Zp คือ Impedance ทางด้าน Primary มีหน่วยเป็น Ohm
ต่อไปคือการขนาดของลวดที่ต้องใช้
I=E/Zp……………(amp)

ยกตัวอย่างการคำนวณ


Out Put Transformer 10 Watt
มี พ.ท. กxย 3.5×2.2= 7.7(Bobin 3.5×2.2)
Bm 8000 *S14
ใช้กับหลอด pl36
ซึ่งมี Impedance ทางด้าน Secondary 8 Ohm
ตามสูตรดังนี้
E=Sqr(P*Zp) = Sqr(10*5000) = 224 (P=10w*Zp=5k)

N1=10^8*224/4.44*7.7*50*8000 =1638 Turn
N2=1638*Sqr(8/5000) =51.79 Turn for 8 Ohm
N2=1638*Sqr(16/5000) =92.6 Turn for 16 Ohm
I=E/5000 = 224/5000 = 0.045A ปัดเป็น 0.05 A.
—————————————————
ถ้าเหล็ก เป็นRG9=8500
N1=10^8*224/4.44*7.7*50*8500 =1679 Turn
N2=1679*Sqr(8/5000) =67 Turn for 8 Ohm
N2=1679*Sqr(16/5000) =95 Turn for 16 Ohm
I=E/5000 = 224/5000 = 0.045A ปัดเป็น 0.05 A.


ขนาดของลวด (mm.)
D = Sqr(I/1.41)
หา I2 90% P=P*0.9 =10*0.9=9 watt
ขนาดของลวด
I2= Sqr(P2/Zs)=Sqr(9/16)=0.75A.
คำนวนออกมาเป็น mm. Sqr(0.05/1.41)=0.179 mm

อ.นิคม พ.เรียบเรียง
https://www.facebook.com/groups/2596171963823134/